Home » » วิธีการเปลี่ยนหัวถังก๊าซและการป้องกันไม่ให้เกิดภัยจากถังก๊าซ

วิธีการเปลี่ยนหัวถังก๊าซและการป้องกันไม่ให้เกิดภัยจากถังก๊าซ

khe Saturday 30 September 2000 | 05:56


เรามีความยิดดีอย่างยิ่งที่ทุกท่านใด้เข้ามาเยี่ยมชมและเสาะหาข้อมูลจาง เว็บของเรา หวังอย่างยิ่งว่าทุกท่านจะได้ความรู้จากเว็บของเราที่ได้ค้นหาข้อมูลต่างๆมา เพื่อให้ทุกท่านให้ศึกษาหาความรู้ ดังนั้นแล้วเราขอขอบคุณสำหรับการใช้เวลาที่มีสาระสำหรับทุกท่าน






แผนการตรวจสอบการใช้งานและความปลอดภัย
1. การตรวจสอบประจำวัน
    - การทำงานของหัวปรับความดัน
    - ปริมาณและความดันก๊าซภายในถัง
    - การทำงานของหม้อต้มไอก๊าซ (ระดับน้ำ , อุณหภูมิภูมิน้ำ  , ตู้ควบคุม)
    - ความปลอดภัยรอบบริเวณสถานที่ใช้ก๊าซ เช่น กองวัสดุที่ติดไฟง่าย
    - กลิ่นเมอร์แคปแทน
    - ตะกอนก๊าซภายใน Oil Trap
1. การตรวจสอบประจำเดือน
    - ตรวจสอบตามหัวข้อการตรวจสอบประจำวัน
    - ตรวจสอบการรั่วซึมของก๊าซด้วยน้ำสบู่
    - ตรวจสอบการทำงานของเครื่องตรวจจับก๊าซรั่ว
    - ความสะอาดของน้ำภายในหม้อต้มไอก๊าซ,ตะกอนก๊าซ
    - ความดันของถังดับเพลิง และปริมาณผงเคมีแห้งภายในถัง
    - การทำงานของระบบน้ำลดอุณหภูมิหลังถังหลังถัง และระบบดับเพลิง
    - การทำงานของอุปกรณ์ เช่น Gauge และ Valve ต่างๆ
การตรวจสอบหารอยรั่ว
ใช้น้ำสบู่ลูบไล้หรือฉีดตามจุดต่าง ๆ ดังนี้
บริเวณวาล์ว
บริเวณเครื่องปรับความดัน
บริเวณข้อต่อ, เกลียว ต่างๆ
บริเวณหน้าแปลน



1.) ให้ปิดวาล์วที่หัวถังแก๊สของถังที่ต้องการเปลี่ยน

2. ) ให้ปิด  Check Valve และ Ball Valve with Check Valve ของถังที่ต้องการเปลี่ยน

3. ) ถอดหัวสายแก๊สออกจากวาล์วที่หัวถังแก๊ส

4. ) ปลดโซ่คล้องถังและนำถังแก๊สออก

5. ) นำถังแก๊สใหม่เข้ามาแทนที่

6. ) ใส่หัวสายแก๊สเข้ากับวาล์วที่หัวถังแก๊ส โดยก่อนใส่ให้ตรวจสอบและปฎิบัติดังนี้
- ถ้าเป็นหัวจ่ายน้ำแก๊ส ให้ดูว่าช่องเกลียวด้านใดต้องไม่มีเศษเหล็กหรือเศษวัสดุใดๆค้างอยู่ เพราะอาจส่งผลให้ฟันเกลียวของหัวต่อสายแก๊สชำรุดได้
- ถ้าเป็นวาล์วจ่ายไอแก๊ส ให้เปิดผนึกอลูมิเนียมที่หัววาล์วออกก่อน แล้วจึงสวมคลิปปิ้งลงไป แล้วบิดตัวกดสลักให้มาร์คสีแดงตรงกับตำแหน่งของลูกไฟ

7. ) ให้ปฎิบัติตามขั้นตอนการเปิดใช้งานต่อไป

0 comments:

Post a Comment

Blog Archive